Wednesday 22 October 2008

environ.

http://www.ecoisland.co.uk/Useful%20Facts%20&%20Links.htm

http://www.sustainabilityworks.org.uk/guide/index.php

21 Simple Ways You Can Help Your Environment AND Save Money Environmental Facts

http://www.nuneatonandbedworth.gov.uk/environment-planning/sustainability/environmental-sustainability-strategy-/environmental-facts-

GENERAL
17. Buy local and organic products that have been traded fairly.

18. Recycle and reuse items. Try to reduce your household waste. We produce around 28 million tonnes of household waste in the UK every year.

19. When you grow out of old clothes, books, furniture take them to charity shops.

20. Where possible, use eco-friendly household cleaners and detergents.

21. Compost garden and household waste.

Note
Taking small actions can really make a difference to the planet. If you only take on board 5 or 6 of the items in the list of 21 and practice them on a regular basis, you may not think so, but you really will be making a difference.

If you have any further simple environmentally friendly ideas in addition to the 21 mentioned above, which you might like to share or if you would just like some further information or a copy of our leaflet "The FUTURE is in OUR HANDS" then contact us using the details above.

Monday 1 September 2008

How to be a Budget Fashionista: Top 10 tips on looking fabulous for less!

How to be a Budget Fashionista: Top 10 tips on looking fabulous for less!

Good news: You don't have to sacrifice style just to pay your electric bill. Kathryn Finney, a.k.a. the Budget Fashionista, is the expert on all things chic and cheap. Now she opens up her Prada bag of shopping and style tips to make you fashionably frugal, with change to spare!

By Kathryn Finney

Budget Fashionista Tip #1: Buy What You Love and Love What You Buy
Repeat this tip to yourself before you enter a store, while trying on clothes in the dressing room, and while waiting at the cash register at your favourite store. Feel empowered to say no to useless trends, stand-alone pieces, and overpriced designer items that make you look anything but your absolute best. Approach shopping like you would approach a marriage. Would you marry a person you just "liked"?

Budget Fashionista Tip #2: Keep the Receipts
Save all tags and receipts for at least two weeks after you purchase an item. Go to your local Office Max or Staples and purchase a coupon or bill folder. Number each tab in the folder according to the days of the month and place your receipts in the folder at least three days before the last day to exchange or return the item.



Budget Fashionista Tip #3: The Savers Rule
Here is a little-known fact: The more you save, the more and longer you will be able to spend. Budget fashionistas must save at least as much as they spend on clothes per month. For example, if you have $250 after paying all of your expenses, at least $125 of it should go into your savings account. Deposit the other $125 into a completely separate interest-bearing chequing our savings account with its own debit card and cheques, to be used specifically for shopping. That way you will be able to keep track of the money you spend on clothes.

Budget Fashionista Tip #4: Purchase a Gift Card
In order to track spending, purchase a Visa or American Express gift card (available online at www.visa.com, www.americanexpress.com, or at your local bank) to manage your shopping expenses. Just bring this gift card with you when you go shopping. Once the money is gone from the gift card, it is time to stop shopping. Many stores have implemented the gift card format for gift certificates, and I also find them particularly helpful for managing expenses. The cards are refillable, so you can add more funds when you are ready to go shopping again.

Budget Fashionista Tip #5: Call It an Estate Sale
If you are selling a large amount of high-quality jewellery and vintage furniture in good condition, calling your sale an estate sale will increase the number of customers and the amount you can charge for your items.




Visit our forums to chat about fashion, beauty and shopping with other ELLE Canada readers!

Budget Fashionista Tip #6: Avoid the "Work and Spend" Trap
Be careful not to fall into the work and spend habit –- spending your entire paycheque on purchases at the store where you work. To avoid this trap, opt for direct deposit of your cheque into your chequing or savings account.

Budget Fashionista Tip #7: How to Find Your Natural Waist
With so many different types of pants and jeans, how does one find one's natural waist? Use this trick I learned from my seamstress grandmother. Stand up straight and bend your body to the side (either left or right) as if you are stretching for a workout. The crease, or the indentation between your hips and rib cage that is formed when you bend to the side, is your natural waist.


Budget Fashionista Tip #8: Learn How to Walk in Heels
Don't know how to walk in heels? Rent the first season of the UPN television show America's Top Model and watch runway maestro Miss J. teach uncoordinated model newbies how to walk.

Budget Fashionista Tip #9: A Little Spandex Can Go a Long Way
For those of us who need a little support, jeans and pants that have a spandex content of 2 to 5 percent are the best. (Any higher, and you will look like you belong in an aerobics class.)

Budget Fashionista Tip #10: Take Care of Your Clothes like a Stylist
Below are some tricks used by fashion and celebrity stylists to help preserve and care for the clothing entrusted to their care. Use these tricks to help maintain the clothes in your closet.

Iron with steam: Every budget fashionista must have an iron. No exceptions. The steam will help press out deep creases and prolong the life of your clothes by reducing the use of starch.

Double-stick tape: This take has adhesive on both sides. Stylists use it to stick clothing safely to the skin. This works great for plunging necklines; think J.Lo and the infamous Versace dress.

Masking tape: Stylists use electrical and masking tape to protect the soles of expensive shoes from horrible scuffs. Following the outline of the sole, apply pieces of the tape to the bottom of shoe. Make sure the tape is securely placed so that it isn't noticeable from a distance.

Quarters: If you live in a windy city, you might be reluctant to wear fuller, lighter-weight skirts for fear of showing your “goods” to the entire city. Stylists tape quarters or fishing weights to the inside seam of the skirt to help weigh it down and prevent it from flying up.

Polaroid or digital camera: Stylists use these cameras to help keep track of their outfits. For example, if a certain outfit looks fabulous on you, take a picture of yourself wearing it so that you will remember what you wore. If you have a lot of shoes, you can also paste a Polaroid on the outside of each shoebox to help identify your shoes.



Excerpted from How to be a Budget Fashionista: The Ultimate Guide to Looking Fabulous for Less by Kathryn Finney. Copyright 2006 by Kathryn Finney. Published by Ballantine Books, a division of Random House of Canada. All rights reserved. No part of this excerpt may be reproduced or reprinted without permission in writing from the publisher.


http://www.ellecanada.com/Fashion/default/how-to-be-a-budget-fashionista-top-10-tips-on-looking-fabulous-for-less-n235407p2.html

Fashion Advice: Help for a Shopaholic

Fashion Advice: Help for a Shopaholic
April 17, 2007 10:42 AM

Dear Budget Fashionista,
I am a shopaholic. I love buying clothes, yet I never have anything to wear. I spent $1,500 on Bluefly purchasing shoes, a beautiful leather Lamarthe bag and other clothes. When I don’t shop I feel irritated like a junkie who needs their next fix. I shop vintage, online, in stores. And not only in clothes, the process of buying just gives me a rush and makes me feel happy. I read your book but it just made me want to purchase more items. People laugh when I tell them I have a problem with shopping but it really is serious. I am trying to find therapy for this problem. Help!

Answer:
According to MSN, 1 in 20 women AND men are shopaholics and although we joke about shopping until we drop, it’s really become a problem for many of us (yours truly included).

The first step in developing a solution to any problem is to admit you actually have a problem, which you’ve done by reaching out to me. There’s many organizations available to help you with the psychological aspects of your shopping addiction (Debtors Anonymous as well as local psychiatrists, psychologists, and therapists specializing in the treatment of addictions). Most likely, your shopping addiction arose from a void you feel in some other part of your life. Once you’re on the path to addressing the psychological aspects of overspending, you can then start to work on getting your financial house in order. Contact a local financial advisor and read last year’s series on getting your financial house in order.

Here’s some excellent strategies for dealing with complusive shopping from MSN:

1. Admit something’s wrong. If you can’t open any of your closets, your credit cards are maxed out, or you cover up crazy spending behavior, you probably have a problem with shopping. “The first thing you need to do is face up to the issue and admit that you need some kind of intervention,” says Benson.
2. Examine the problem. Every compulsive spender is different. Do you spend only occasionally but in big splurges? Or are you on a constant spend-a-thon, moving from one credit card to the next? Do you go nuts for a particular commodity—electronics, food, jewelry? In order to get a grip, says Benson, “You need to admit the particular nature of your problem.”
3. Name the feelings. Benson suggests asking: “What are you shopping for?” To boost your ego? Relieve depression? Get back at your spouse? Is it a creative outlet or a form of self-expression? Does being at the mall ease loneliness? “If so, see if you can find other ways to meet those needs.”
4. Look at your time. Compulsive spenders face more than financial losses, Benson points out. Ask yourself how much time you spend browsing on the Internet or stalking some great deal. How else could you spend your time in ways that would truly improve your quality of life?
5. Open your horizons. When hearing about shopper Andrea’s passion for fashion, Benson wondered if she could volunteer as a consultant with Dress for Success, a program that helps disadvantaged women find jobs. “You have to have a rich life.” Benson says. “True wealth isn’t 500 pairs of shoes, it’s things that feed your soul.”


http://www.thebudgetfashionista.com/archive/fashion_advice_help_for_a_shopaholic/

Mortgage Shopaholic Part I: Shop It ‘Til You Drop It

Mortgage Shopaholic Part I: Shop It ‘Til You Drop It…The Rate that Is
Posted by Chris Williamson
July 11, 2008

ShopaholicAccording to the Merriam-Webster online dictionary, the definition of a shopaholic is someone who is extremely or excessively fond of shopping. Another online dictionary defines a shopaholic as someone who can never resist a bargain. These two definitions may sum up the essence of a person who lives by the motto “the one that dies with the most toys wins,” but when it comes to mortgage shoppers, the definition is slightly different.

The definition of a mortgage shopaholic is someone who excessively shops for a bargain. The motto of the mortgage shopaholic is “the one that gives me the lowest rate wins.” It sounds like a nice motto, but that motto should also come with a disclaimer, “the rates in the rearview mirror may be larger than they appear.”

Before we go further, let’s clear something up, the point of the post is not to attack the mortgage shopper, rather to empower the mortgage shopper with the knowledge to shop the right way. I encourage you to shop, but I want you to shop for the true bargain and trust me, the true bargain isn’t the lowest rate. Over the next few posts I am going to give you the inside scoop on how to shop for your mortgage correctly. I want you to shop beyond the rates and instead shop for expertise. Instead of calling lenders and brokers at random simply asking “what is the best rate you can get me?” start by asking “how are you going to structure my loan program to best serve my financial needs?”

Stay tuned for my next few posts as we uncover the symptoms, cause, consequences and cure of a mortgage shopaholic.

If you have enjoyed San Mateo Mortgage Blog - Bay Area Mortgage Broker, please subscribe to our RSS feed.


http://sanmateomortgageblog.com/2008/07/shop-it-til-you-drop-itthe-rate-that-is/

Thursday 14 August 2008

Why People Buy Things They Don’t Need ทำไมเราถึงซื้อของที่ไม่จำเป็น

Why People Buy Things They Don’t Need ทำไมเราถึงซื้อของที่ไม่จำเป็น

เมื่อ พูดถึงพฤติกรรมผู้บริโภค ปัจจุบันผู้คนเกือบทั่วโลก (โดยเฉพาะในประเทศพัฒนาแล้ว) มีแนวโน้มว่าจะใช้จ่ายไปกับของที่ไม่จำเป็นมากขึ้นทุกที เมื่อปี 2000 แค่ประชากรของสหรัฐฯ ประเทศเดียว ก็มียอดใช้จ่ายเงินซื้อสินค้าและบริการในหมวดนี้ถึงร้อยละ 30 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด หรือคิดเป็นเงิน 2,812,000 ล้านดอลลาร์ ทุกวันนี้ตัวเลขดังกล่าวเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 40 และมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต จึงไม่ต้องสงสัยเลยที่นักการตลาดทั้งหลายเริ่มหันมาสนใจศึกษาว่าอะไรที่ผลักดันให้คนซื้อของทั้งที่ไม่จำเป็น



จำเป็นหรือไม่จำเป็น

เสื้อผ้า อาหาร ยา และที่อยู่อาศัยคือปัจจัย 4 ที่จำเป็นต่อชีวิต ของที่นอกเหนือจากนี้ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น และเป็นสิ่งที่แสวงหามาเพื่อตอบสนองความพึงพอใจส่วนบุคคล เช่น รถยนต์ เครื่องซักผ้า เครื่องประดับ หรือบริการอาหารตามสั่ง ฯลฯ ทุกวันนี้ในหลายๆ สังคม ผู้คนไม่ต้องกังวลเรื่องปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีพ เสื้อผ้า อาหาร สามารถหาซื้อได้ง่ายและมีให้เลือกมากมาย ผู้บริโภคในสังคมเหล่านี้มียอดซื้อสินค้าจำเป็นน้อยลง แต่กลับซื้อสินค้าและบริการที่ไม่จำเป็นมากขึ้น หลายคนอาจสงสัยว่าทำไมคนเหล่านี้ถึงซื้อของที่ไม่จำเป็น คำตอบคือ การที่พวกเขาซื้อของเหล่านี้ ก็เพราะคิดว่าสิ่งของหรือบริการเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็น

ผู้ บริโภครุ่นหลังๆ เคยชินเสียแล้วกับความสะดวกสบาย จึงรู้สึกว่าจะอยู่ไม่ได้หากขาดสิ่งของหรือบริการที่คนในสมัยก่อนคิดว่าไม่ จำเป็น เช่น เครื่องซักผ้า โทรทัศน์ วิทยุ เครื่องปรับอากาศ เครื่องทำน้ำอุ่น หรือแม้แต่เครื่องสำอาง ดังนั้นจะเห็นได้ว่า หากนักการตลาดสามารถทำให้ผู้บริโภคเห็นความจำเป็นในสินค้าหรือบริการของตน ก็จะเป็นหนทางไปสู่การขายสินค้าได้มากขึ้น ไม่ ว่าจะเป็นสินค้าที่มีประโยชน์ใช้สอยเด่นชัดอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้า หรือสินค้าหรูหราฟุ่มเฟือยอย่างเครื่องประดับ เสื้อผ้าแบรนด์เนม หรือของตกแต่งบ้าน สินค้าเหล่านี้มักมีผู้ซื้อเจ้าประจำอยู่ 5 ลักษณะด้วยกันคือ



นักช้อปชอบอวด

นัก ช้อปชอบอวดมีอยู่ประมาณร้อยละ 28 คนกลุ่มนี้ใช้สินค้าหรือบริการเป็นสัญลักษณ์ในการแสดงตัวตน ซึ่งมักต้องแตกต่างจากคนอื่นแต่ก็เป็นที่ยอมรับของกลุ่ม เหตุผลในการซื้อของกลุ่มนี้เป็นเรื่องอารมณ์ล้วนๆ และอ่อนไหวต่อการกระตุ้นโดยภาพลักษณ์และแบรนด์ของสินค้า ผู้บริโภคกลุ่มนี้จึงมีค่ามากในอนาคตเพราะจะเป็นกลุ่มที่มีการตอบสนองต่อ ตลาดมากที่สุด



นักช้อปผู้รอบคอบ

ผู้ บริโภคกลุ่มนี้มีอยู่ประมาณร้อยละ 23 การตัดสินใจต่างๆ จะไม่ถูกผลักดันหรือชักจูงง่ายๆ อย่างกลุ่มแรก เพราะคนกลุ่มนี้จะมีเหตุผลให้กับการซื้อสินค้าเสมอ เช่น ซื้อโซฟาใหม่มาแทนอันเก่าที่ขาดแล้ว และมักมีการไตร่ตรองและวางแผนมาอย่างดีก่อนตัดสินใจซื้อสินค้า เช่น มีการรวบรวมข้อมูลมาระยะหนึ่งแล้วจึงจะตัดสินใจซื้อ สำหรับคนกลุ่มนี้มองสินค้าและบริการที่ประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก ไม่ใช่สัญลักษณ์ประกาศตัวตนให้ใครๆ รู้เหมือนในกลุ่มแรก อย่างไรก็ตาม นักการตลาดยัง มีช่องทางขายสินค้าให้กับกลุ่มนี้ได้ ตราบใดก็ตามที่ยังสามารถหาเหตุผลมาสนับสนุนให้เห็นความจำเป็นในการใช้สินค้า หรือบริการของตน เช่น เครื่องซักผ้า ใช้แล้วจะช่วยประหยัดเวลา สามารถไปทำอย่างอื่นที่มีประโยชน์กว่า หรือนิตยสารเป็นช่องทางรับข้อมูลข่าวสารหรือแฟชั่นล่าสุด เป็นต้น



นักช้อปชั่ววูบ

หมาย ถึงนักช้อปที่ตัดสินใจซื้อทันทีที่เห็น และเพราะการซื้อสินค้าทำให้รู้สึกตื่นเต้นและมีความสุข สิ่งที่ผลักดันให้เกิดการซื้อคือความชอบใจในขณะนั้น ไม่ใช่เพราะไตร่ตรองมาล่วงหน้าหรือพิจารณาถึงค่านิยมและภาพลักษณ์ของตน คนกลุ่มนี้มีอยู่ประมาณร้อยละ 18 เป็นลูกค้าในดวงใจของสินค้าหลายชนิด



นักช้อปผู้สับสน

คน กลุ่มนี้จะมีความขัดแย้งในตัวเอง แม้ใจหนึ่งจะอยากซื้อสินค้าเพื่อตอบสนองความต้องการ แต่อีกใจหนึ่งกลับรู้สึกผิดถ้าซื้อสินค้าที่ฟุ่มเฟือย พวกเขาไม่ต้องการเป็นตู้โชว์สินค้าแบรนด์เนม แต่ลึกๆ ในใจก็ต้องการสินค้าเหล่านั้น ดังนั้น ถ้าคุณสามารถหาเหตุผลสักข้อให้คนกลุ่มนี้ใช้เป็นข้ออ้างในการซื้อสินค้าของ คุณได้ คุณก็สามารถขายของให้ลูกค้าประเภทนี้ ซึ่งมีอยู่ประมาณร้อยละ 17 เลยทีเดียว



นักช้อปของลดราคา

ของ ถูกนั้นเป็นของยั่วใจ แต่คนบางคนจะอ่อนไหวต่อของลดราคามากเป็นพิเศษ (แม้บางครั้งของที่ลดราคาแล้วยังราคาแพงอยู่ก็ตาม) คนกลุ่มนี้มีอยู่ประมาณร้อยละ 15 มีลักษณะผสมผสานกันระหว่างนักช้อปชอบอวด นักช้อปชั่ววูบ และนักช้อปผู้รอบคอบ โดยมักจะมองหาสินค้าลดราคา แล้วคำนวณดูก่อนว่าได้รับส่วนลดมากแค่ไหน และคุ้มหรือไม่กับมูลค่าของสินค้า จากนั้นจึงตัดสินใจซื้อมา



เหตุผลที่ต้องซื้อ

ผู้ บริโภคจำเป็นต้องมีข้ออ้างหรือเหตุผลอ้างอิงเมื่อจะซื้อสิ่งของที่ไม่จำเป็น ถ้าซื้อสินค้าพวกข้าวสารอาหารแห้ง จะไม่ต้องการเหตุผลเหล่านี้เลย เพราะสินค้าเหล่านี้มีความจำเป็นอยู่ในตัวแล้ว แต่เมื่อจะซื้อของที่ไม่จำเป็น ผู้บริโภคจะต้องหาเหตุผลมา “หลอก” ตัวเองว่าจำเป็นต้องใช้สินค้าหรือบริการเหล่านั้น ทั้งที่จริงๆ แล้วเป็นเรื่องของแรงผลักดันทางอารมณ์ล้วนๆ

ยิ่ง สินค้ามีความจำเป็นน้อยเท่าใด หรือยิ่งมีราคามากเท่าใด ก็ยิ่งต้องใช้ข้ออ้างมากเท่านั้น การซื้อโซฟาตัวใหม่มาแทนตัวเก่าที่ใช้มานานแล้วกว่าสิบปี ย่อมต้องใช้ข้ออ้างน้อยกว่าการซื้อโซฟาตัวใหม่มาแทนที่ตัวเก่าที่เพิ่งซื้อ มาเมื่อปีที่แล้วและยังใหม่เอี่ยมอยู่เลย ข้ออ้างเหล่านี้วิ่งวนอยู่ในใจนักช้อปทุกประเภทและมักมีลักษณะคล้ายๆ กัน เช่น เพื่อความเพลิดเพลิน เพื่อความบันเทิง เพื่อการผ่อนคลาย หรือเพื่อการศึกษา แต่ข้ออ้างที่คนนึกถึงมากที่สุดคือ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต



เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

จาก การสำรวจพบว่า ผู้บริโภคร้อยละ 90 ซื้อสินค้าและบริการตามความพอใจโดยอ้างอิงถึงความจำเป็นในการยกระดับคุณภาพ ชีวิตในด้านต่างๆ เช่น สติปัญญา ร่างกาย จิตใจ และสังคม

ความ ต้องการยกระดับทางสติปัญญา เป็นความจำเป็นที่ผลักดันให้คนซื้อสินค้าที่ให้การศึกษา เช่น หนังสือ (ตั้งแต่ตำราวิชาการ วรรณกรรม ไปจนถึงเรื่องชวนหัว) การเข้าคอร์สเรียนเพิ่มเติม การท่องเที่ยวหาประสบการณ์ ไปจนถึงการซื้อคอมพิวเตอร์และติดตั้งอินเทอร์เน็ต สาวๆ หลายคนก็อ้างว่าต้องการยกระดับความรู้ด้านแฟชั่นเช่นกันเมื่อจะซื้อแม็กกา ซีนที่เต็มไปด้วยหน้าโฆษณาสินค้ามาอ่าน

ความ ต้องการยกระดับคุณภาพชีวิตทางด้านร่างกาย เป็นตัวกระตุ้นให้คนสมัยนี้หันมาสนใจอาหารเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกาย และการผ่อนคลายในสปา ดังนั้น จึงไม่สงสัยเลยที่ธุรกิจในหมวดสุขภาพมีอัตราเติบโตเร็วมากและมีลูกค้าเพิ่ม ขึ้นทุกที

ข้อ อ้างเรื่องการยกระดับคุณภาพชีวิตยังรวมไปถึงด้านจิตวิญญาณและศาสนาด้วย เนื่องจากคนเราต้องพึ่งพาศาสนาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อให้เกิดความรู้สึก มั่นคงและปลอดภัย คนหลายคนซื้อหาและสะสมเครื่องบูชา สัญลักษณ์ และข้าวของเกี่ยวกับกับศาสนาด้วยเหตุผลข้อนี้

นอก เหนือจากสติปัญญา สุขภาพ และความมั่นคงในจิตใจ ทุกวันนี้คนให้ความสำคัญกับอารมณ์ความรู้สึกมากขึ้น ตั้งแต่มีการวิจัยและยืนยันเกี่ยวกับผลร้ายของความเครียด ผู้คนมากมายจึงสามารถซื้อสินค้าและบริการได้หลายอย่างโดยอ้างถึงความจำเป็น ที่ต้องขจัดความเครียดไปจากร่างกายและจิตใจ สินค้าที่มักได้ประโยชน์จากข้ออ้างนี้มีมากมาย เช่น ไอศกรีม เทียนหอม น้ำมันหอมระเหย ไปจนถึงโปรแกรมท่องเที่ยวต่างประเทศ

แง่ มุมสุดท้ายของคุณภาพชีวิตคือเรื่องสังคม การเป็นที่ยอมรับในสังคม และสายสัมพันธ์อันดีกับญาติมิตรและคนในครอบครัว เป็นความสำเร็จอย่างหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดีขึ้น คนมากมายซื้อของไม่จำเป็นโดยอ้างว่าซื้อเป็นของขวัญให้คนรู้จัก (และซื้อให้ตัวเองด้วย) สินค้าอย่างโทรศัพท์มือถือก็ขายดิบขายดีเพราะทำให้คนติดต่อสื่อสารกันได้ ทันใจ นอกจากนี้ผู้คนมากมายยังซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยหลายอย่างเพราะมันบ่งบอกสถานะ ทางสังคม เช่น รถยนต์ เครื่องประดับ ที่มักมีการจัดระดับให้ผู้ซื้อเสร็จสรรพ



จะขายมากขึ้นได้อย่างไร

ใน สงครามการขาย ที่ทุกคนต่างช่วงชิงเงินในกระเป๋าของผู้ซื้อ (ซึ่งมีอยู่อย่างจำกัด) เราจำเป็นต้องศึกษาให้เข้าใจความคิดของกลุ่มเป้าหมายไปจนถึงระดับอารมณ์ความ รู้สึกและเหตุผลต่างๆ ที่พวกเขาใช้อ้างในการซื้อสินค้าข้ออ้างเหล่านี้จะเป็นเครื่องมือให้นักการตลาดสามารถทำลายปราการต่างๆ ในใจผู้บริโภค และชักจูงพวกเขาให้ซื้อสินค้าต่างๆ ได้แม้เป็นของที่ไม่จำเป็น





Why People Buy Things They Don’t Need โดย Pamela N. Danziger

เอเชียบุ๊คส์ จัดจำหน่าย



ฉบับที่ 58 ธันวาคม 2547


http://www.marketeer.co.th/inside_detail.php?inside_id=3011

มองเทรนด์แห่งอนาคต จากสัญญาณการเปลี่ยนแปลงวันนี้

มองเทรนด์แห่งอนาคต จากสัญญาณการเปลี่ยนแปลงวันนี้
โดย ฐานเศรษฐกิจ วัน อาทิตย์ ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 04:52 น.
บริษัท ฟาร์อีสท์ ดีดีบี จำกัด(มหาชน) นำเสนอเครื่องมือศึกษาตลาดแบบใหม่นั่นคือ DDB SignBank ซึ่งเป็นการสังเกตการณ์ ความเปลี่ยนแปลงรอบๆตัว ไม่ว่าจะเป็นสถิติ หรือ พฤติกรรมของผู้บริโภคในชีวิตประจำวัน แล้วนำมาวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ในสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้

สัญญาณการเปลี่ยนแปลงที่นำมาใช้ในการศึกษา เช่น สินค้าใหม่หรือการให้บริการแบบใหม่

ที่เป็นที่นิยมในหมู่ผู้บริโภค รวมถึงสิ่งที่ผู้คนเลิกทำหรือเลิกใช้ ตลอดจนข้อมูลจากสถาบันวิจัยต่างๆ

ก็สามารถนำมาใช้เป็นการศึกษาได้เช่นกัน ด้วย Signs ที่รวบรวมมาจำนวนมากกว่าพันชิ้น สามารถทำให้วิเคราะห์ และเข้าใจถึงสิ่งที่เป็นไปในสังคม และคาดคะเนถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต

ในเบื้องต้น DDB SignBank ได้รวบรวม และวิเคราะห์ Signs มากกว่า 2,000 ชิ้น เพื่อที่จะศึกษาถึงวิถีชีวิตและความเป็นไปของสังคมคนเมือง ส่วนหนึ่งของผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันคนไทยพยายามค้นหาวิถีทางในการดำรงชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ มีแนวทางการใช้ชีวิตเป็นของตนเอง ไม่ซ้ำ

แบบใคร เลือกในแบบอย่างที่เหมาะสม มีหลักเกณฑ์ และมีเหตุผลมากขึ้น เพื่อที่จะให้ชีวิตเต็มไปด้วย

ความสุขและความสงบในจิตใจ จึงเห็นได้ว่าสินค้าและการบริการในปัจจุบัน รวมความสะดวกสบาย

แบบเบ็ดเสร็จ และความเรียบง่ายเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะสนองตอบกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป

ปั๊มน้ำมันเป็นหนึ่งตัวอย่างที่ชัดเจนของสินค้าและบริการแบบเบ็ดเสร็จ เพราะมันจะไม่ได้เป็นเพียงสถานที่สำหรับเติมน้ำมันเพียงอย่างเดียว แต่มีการเพิ่มคุณค่าในด้านบริการเพื่อตอบรับความต้องการของผู้บริโภค ปั๊มน้ำมันหลายแห่งจึงกลายเป็นสถานที่ที่ให้ความสะดวกสบายแก่ชีวิตมากขึ้น โดยภายในปั๊มจะมีทั้ง ร้านสะดวกซื้อ ร้านกาแฟ ฟาสต์ฟู้ด หรือแม้กระทั่งธนาคารแบบ drive-through เหล่านี้สะท้อนถึงพฤติกรรมผู้บริโภคปัจจุบันที่ต้องการความสะดวกสบายในช่วง ชั่วโมงเร่งด่วน

ที่น่าสังเกตอีกตัวอย่าง คือ โดยทั่วไปแล้ว คนไทยจะชื่นชอบการไปเที่ยวหรือพักผ่อนตามห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ ที่มีผู้คนมากมายหรือเป็นแหล่งรวมความบันเทิง เช่น สยามสแควร์, เซ็นทรัล, ดิ เอ็มโพเรียม หรือ สยามพารากอน ในอีกมุมหนึ่ง ยังคงมีคนจำนวนไม่น้อยที่นิยมไปพักผ่อนและจับจ่ายในสถานที่ที่มีผู้คนไม่ พลุกพล่าน มีพื้นที่เพียงพอสำหรับการพักผ่อนหย่อนใจและซื้อของ ที่ให้ความเป็นส่วนตัว ในบางสถานที่สามารถบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ และรสนิยมของผู้ที่ไปเที่ยว เช่น คอนเซ็ปต์สโตร์ J-Avenue, Thong-Lor Town Center, Market Place, Club 21 บูติกมอลล์, โอโซโน่ สุขุมวิท 39 , Playground , Inspired by Inner Complexity @ สุขุมวิท 31, หรือแม้กระทั่งร้าน Homework ที่นอกจากขายวัสดุก่อสร้างและเครื่องใช้ไฟฟ้าแล้ว ยังมีส่วนที่เป็นร้านกาแฟ ร้านหนังสือ อีกด้วย ทำให้สถานที่เหล่านี้มีความแตกต่าง ที่ขายความมีสไตล์และบริการ ไปพร้อมๆสินค้าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว

เรื่องที่ใกล้ตัวเข้ามาอีกนิด คือ เรื่องปากท้อง ท่ามกลางวิถีชีวิตที่รีบเร่งทำให้คนไทยมีเวลาเอาใจใส่กับการรับประทานอาหาร น้อยลง โดยเฉพาะคนในเมืองที่มีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ง่าย และสะดวกรวดเร็ว เช่น แซนวิช ขนมปัง หรืออาหารที่อุ่นด้วยไมโครเวฟ จะเห็นได้ว่าในระยะ 1-2 ปี ที่ผ่านมาอาหารประเภทกึ่งพร้อมทาน เช่น อาหารแช่แข็ง/แช่เย็น มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ด้วยรสชาติที่เทียบเท่าอาหารปรุงสดและสามารถเก็บไว้ได้นาน ทำให้อาหารแช่แข็ง/แช่เย็นได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น และอาจเป็นไปได้ว่าจะเข้ามาแทนที่การทำอาหารทานเองที่บ้าน อาจชี้ให้เห็นว่า คนไทยกำลังให้ความสำคัญของอาหารที่รับประทานความสะดวกมากกว่า อาหารที่มีความสดใหม่

สังเกตจากการเพิ่มขึ้นของอาหารแช่แข็งในซุปเปอร์มาร์เก็ต จะเห็นว่ามีความหลากหลายทั้งในประเภทของอาหารและยี่ห้อของสินค้าเช่น อาหารทะเล ข้าวผัดแบบต่าง ๆ กับข้าว ขนมหวาน หรือแม้กระทั่งน้ำพริกแช่แข็ง บริษัทวิจัย นาโนเสิร์ช กล่าวว่า 18.5% ของคนกรุงเทพรุ่นใหม่บริโภคอาหารแช่แข็งอย่างน้อย 10 ครั้งต่อเดือน

นอกเหนือจากพฤติกรรมของคนเมืองในการนิยมความสะดวกสบายในด้านการบริโภคทั้ง สินค้าและบริการที่มีความเรียบง่าย สะดวกสบาย และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแล้ว ปัจจุบัน คนไทยยังมีความจริงจังต่อการดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำริของในหลวงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้น โดยมีความคิดว่าเป็นแนวทางที่ยั่งยืน ทำให้ทั้งในส่วนของภาครัฐและภาคเอกชนหลายแห่ง นำมาใช้ในการพัฒนาองค์กรหรือเราเคยได้ยินว่า ธรรมาภิบาล

โดยผู้ที่สนใจแนวทางดังกล่าวสามารถเข้าไปหาอ่านได้ที่เว็บไซต์ sufficiencyeconomy.org เป็นเว็บที่เปิดขึ้นเพื่อให้คำอธิบายและคำแนะนำแก่ประชาชนทั่วไป ในการนำเอาแนวความคิด ชีวิตที่พอเพียงมาใช้ในแขนงต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา สังคม ธุรกิจ การเมือง เป็นต้น

สำนักงานสถิติแห่งชาติ รายงานว่า จากการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ร้อยละ 91.2 ต้องการเข้าร่วมโครงการชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริซึ่งจัดทำขึ้นโดย กรุงเทพมหานคร ด้วยการเชิญชวนประชาชนชาวกรุงเทพ ฯ ร่วมทำบัญชีรายรับรายจ่ายของตนเองหรือครอบครัว ขณะนี้มีผู้สนใจเข้าร่วมแล้วกว่า 1.3 ล้านคน

จากภาวะเศรษฐกิจและการเมืองที่ผันผวน เป็นอีกหนึ่งปัจจัยหลักที่ทำให้คนไทยหันมาคำนึงถึงการใช้ชีวิตอย่างประหยัด ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนอีกเรื่อง คือ พฤติกรรมการใช้รถของคนไทย ซึ่งถ้าจะใช้รถกระบะ ก็ต้องเป็นรถที่ประหยัดน้ำมันสุด ๆ เครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรล จึงเป็นจุดขายที่ลูกค้าจะตัดสินใจจับจอง ส่วนคนเมืองที่ใช้รถเบนซินก็หันมาสนใจรถขนาดเล็กมากขึ้น เหล่านี้จึงเป็นเหตุให้ผู้ประกอบการรถยนต์ต่างเร่งผลิตรถขนาดเล็กและพัฒนา เทคโนโลยีของรถขนาดใหญ่ที่จะสามารถใช้พลังงานทดแทนได้ ตลอดจนภาครัฐเองก็มีนโยบายในเรื่องพลังงานที่ชัดเจนในการที่จะพยายามแสวงหา พลังงานทางเลือกอื่น ๆ ให้สามารถนำมาใช้กับรถได้ ไม่ว่าจะเป็นการรณรงค์ให้ใช้แก็สโซฮอลล์ หรือ ก๊าซธรรมชาติ NGV

จากรายงานภาวะเศรษฐกิจในไตรมาส 2/49 ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพบว่า การบริโภคของครัวเรือนในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา ชะลอตัวลงร้อยละ 3.7 เทียบกับร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อน ซึ้งสอดคล้องกับการลดลงของการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตจากร้อยละ 28.6 ในไตรมาส 1 มาเป็นร้อยละ 19.5 ในไตรมาส 2 นี้ อาจจะเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่บ่งบอกถึงคนไทยจับจ่ายอย่างระมัดระวังมากขึ้น

ดร. สมชาติ วิศิษฐชัยชาญ ผู้อำนวยการบริหารฝ่ายวางแผนกลยุทธ์และวิจัย บริษัท ฟาร์อีสท์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในเชิงลึกด้วยเครื่องมือทางการตลาด DDB SignBank จะช่วยทำให้ผู้ประกอบการทั้งภาคการผลิตสินค้าและการให้บริการสามารถตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคทั้งในเหตุการณ์ปัจจุบันและอนาคตได้อย่างตรง ใจ ผู้ประกอบธุรการควรให้ความสำคัญในการพัฒนาสินค้าหรือบริการ ที่เน้นความสะดวกสบายและไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคมากขึ้น การเพิ่มความสะดวกสบายในตัวสินค้าหรือบริการนั้น จะทำให้ผู้บริโภคเกิดความสนใจที่จะทดลอง, เพิ่มปริมาณการใช้ หรือแม้กระทั่ง เพิ่มความภักดีต่อตราสินค้าและบริการ และยังทำให้ภาพลักษณ์ของสินค้าและบริการนั้นมีความทันสมัยอีกด้วย เช่นการหาช่องทางใหม่ ๆ ที่สามารถให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงง่ายขึ้น การตกแต่งร้านค้าเพื่อสอดคล้องกับเอกลักษณ์ของกลุ่มเป้าหมาย หรือ เพิ่มส่วนประกอบ/ลักษณะใหม่ที่อำนวยความสะดวกในการใช้และบริโภคสินค้า

จากกระแสการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียงและประหยัดที่มากขึ้นนั้น ทำให้พบว่า คนไทยเป็นคนฉลาดในการบริโภคมากขึ้น ใช้จ่ายอย่างมีเหตุและผล มากกว่าการฟุ่มเฟือยตามใจตนเอง โดยจะเปรียบเทียบทั้งราคาและประโยชน์ที่จะได้รับจากสินค้าของแต่ละยี่ห้อ อย่างละเอียด จึงเป็นไปได้ว่าในอนาคตความต้องการของสินค้าหรืออุปกรณ์ที่ช่วยลดค่าใช้จ่าย หรือประหยัดทรัพยากร/พลังงานอาจมีมากขึ้น ฉะนั้นผู้ประกอบธุรกิจจึงไม่ควรมองข้ามการพัฒนาสินค้าที่สามารถลดค่าใช้จ่าย ของผู้บริโภค เช่น หลอดไฟที่สามารถปรับความสว่างของแสงได้อัตโนมัติเพื่อช่วยในการประหยัดไฟ ล้อรถที่สามารถช่วยประหยัดการใช้เชื้อเพลิง หรือแม้กระทั้งสุขภัณฑ์ประหยัดน้ำ เป็นต้นบริษัท ฟาร์อีสท์ ดีดีบี จำกัด(มหาชน) นำเสนอเครื่องมือศึกษาตลาดแบบใหม่นั่นคือ DDB SignBank ซึ่งเป็นการสังเกตการณ์ ความเปลี่ยนแปลงรอบๆตัว ไม่ว่าจะเป็นสถิติ หรือ พฤติกรรมของผู้บริโภคในชีวิตประจำวัน แล้วนำมาวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ในสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้

สัญญาณการเปลี่ยนแปลงที่นำมาใช้ในการศึกษา เช่น สินค้าใหม่หรือการให้บริการแบบใหม่

ที่เป็นที่นิยมในหมู่ผู้บริโภค รวมถึงสิ่งที่ผู้คนเลิกทำหรือเลิกใช้ ตลอดจนข้อมูลจากสถาบันวิจัยต่างๆ

ก็สามารถนำมาใช้เป็นการศึกษาได้เช่นกัน ด้วย Signs ที่รวบรวมมาจำนวนมากกว่าพันชิ้น สามารถทำให้วิเคราะห์ และเข้าใจถึงสิ่งที่เป็นไปในสังคม และคาดคะเนถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต

ในเบื้องต้น DDB SignBank ได้รวบรวม และวิเคราะห์ Signs มากกว่า 2,000 ชิ้น เพื่อที่จะศึกษาถึงวิถีชีวิตและความเป็นไปของสังคมคนเมือง ส่วนหนึ่งของผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันคนไทยพยายามค้นหาวิถีทางในการดำรงชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ มีแนวทางการใช้ชีวิตเป็นของตนเอง ไม่ซ้ำ

แบบใคร เลือกในแบบอย่างที่เหมาะสม มีหลักเกณฑ์ และมีเหตุผลมากขึ้น เพื่อที่จะให้ชีวิตเต็มไปด้วย

ความสุขและความสงบในจิตใจ จึงเห็นได้ว่าสินค้าและการบริการในปัจจุบัน รวมความสะดวกสบาย

แบบเบ็ดเสร็จ และความเรียบง่ายเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะสนองตอบกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป

ปั๊มน้ำมันเป็นหนึ่งตัวอย่างที่ชัดเจนของสินค้าและบริการแบบเบ็ดเสร็จ เพราะมันจะไม่ได้เป็นเพียงสถานที่สำหรับเติมน้ำมันเพียงอย่างเดียว แต่มีการเพิ่มคุณค่าในด้านบริการเพื่อตอบรับความต้องการของผู้บริโภค ปั๊มน้ำมันหลายแห่งจึงกลายเป็นสถานที่ที่ให้ความสะดวกสบายแก่ชีวิตมากขึ้น โดยภายในปั๊มจะมีทั้ง ร้านสะดวกซื้อ ร้านกาแฟ ฟาสต์ฟู้ด หรือแม้กระทั่งธนาคารแบบ drive-through เหล่านี้สะท้อนถึงพฤติกรรมผู้บริโภคปัจจุบันที่ต้องการความสะดวกสบายในช่วง ชั่วโมงเร่งด่วน

ที่น่าสังเกตอีกตัวอย่าง คือ โดยทั่วไปแล้ว คนไทยจะชื่นชอบการไปเที่ยวหรือพักผ่อนตามห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ ที่มีผู้คนมากมายหรือเป็นแหล่งรวมความบันเทิง เช่น สยามสแควร์, เซ็นทรัล, ดิ เอ็มโพเรียม หรือ สยามพารากอน ในอีกมุมหนึ่ง ยังคงมีคนจำนวนไม่น้อยที่นิยมไปพักผ่อนและจับจ่ายในสถานที่ที่มีผู้คนไม่ พลุกพล่าน มีพื้นที่เพียงพอสำหรับการพักผ่อนหย่อนใจและซื้อของ ที่ให้ความเป็นส่วนตัว ในบางสถานที่สามารถบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ และรสนิยมของผู้ที่ไปเที่ยว เช่น คอนเซ็ปต์สโตร์ J-Avenue, Thong-Lor Town Center, Market Place, Club 21 บูติกมอลล์, โอโซโน่ สุขุมวิท 39 , Playground , Inspired by Inner Complexity @ สุขุมวิท 31, หรือแม้กระทั่งร้าน Homework ที่นอกจากขายวัสดุก่อสร้างและเครื่องใช้ไฟฟ้าแล้ว ยังมีส่วนที่เป็นร้านกาแฟ ร้านหนังสือ อีกด้วย ทำให้สถานที่เหล่านี้มีความแตกต่าง ที่ขายความมีสไตล์และบริการ ไปพร้อมๆสินค้าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว

เรื่องที่ใกล้ตัวเข้ามาอีกนิด คือ เรื่องปากท้อง ท่ามกลางวิถีชีวิตที่รีบเร่งทำให้คนไทยมีเวลาเอาใจใส่กับการรับประทานอาหาร น้อยลง โดยเฉพาะคนในเมืองที่มีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารที่ง่าย และสะดวกรวดเร็ว เช่น แซนวิช ขนมปัง หรืออาหารที่อุ่นด้วยไมโครเวฟ จะเห็นได้ว่าในระยะ 1-2 ปี ที่ผ่านมาอาหารประเภทกึ่งพร้อมทาน เช่น อาหารแช่แข็ง/แช่เย็น มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ด้วยรสชาติที่เทียบเท่าอาหารปรุงสดและสามารถเก็บไว้ได้นาน ทำให้อาหารแช่แข็ง/แช่เย็นได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น และอาจเป็นไปได้ว่าจะเข้ามาแทนที่การทำอาหารทานเองที่บ้าน อาจชี้ให้เห็นว่า คนไทยกำลังให้ความสำคัญของอาหารที่รับประทานความสะดวกมากกว่า อาหารที่มีความสดใหม่

สังเกตจากการเพิ่มขึ้นของอาหารแช่แข็งในซุปเปอร์มาร์เก็ต จะเห็นว่ามีความหลากหลายทั้งในประเภทของอาหารและยี่ห้อของสินค้าเช่น อาหารทะเล ข้าวผัดแบบต่าง ๆ กับข้าว ขนมหวาน หรือแม้กระทั่งน้ำพริกแช่แข็ง บริษัทวิจัย นาโนเสิร์ช กล่าวว่า 18.5% ของคนกรุงเทพรุ่นใหม่บริโภคอาหารแช่แข็งอย่างน้อย 10 ครั้งต่อเดือน

นอกเหนือจากพฤติกรรมของคนเมืองในการนิยมความสะดวกสบายในด้านการบริโภคทั้ง สินค้าและบริการที่มีความเรียบง่าย สะดวกสบาย และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแล้ว ปัจจุบัน คนไทยยังมีความจริงจังต่อการดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำริของในหลวงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้น โดยมีความคิดว่าเป็นแนวทางที่ยั่งยืน ทำให้ทั้งในส่วนของภาครัฐและภาคเอกชนหลายแห่ง นำมาใช้ในการพัฒนาองค์กรหรือเราเคยได้ยินว่า ธรรมาภิบาล

โดยผู้ที่สนใจแนวทางดังกล่าวสามารถเข้าไปหาอ่านได้ที่เว็บไซต์ sufficiencyeconomy.org เป็นเว็บที่เปิดขึ้นเพื่อให้คำอธิบายและคำแนะนำแก่ประชาชนทั่วไป ในการนำเอาแนวความคิด ชีวิตที่พอเพียงมาใช้ในแขนงต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา สังคม ธุรกิจ การเมือง เป็นต้น

สำนักงานสถิติแห่งชาติ รายงานว่า จากการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ร้อยละ 91.2 ต้องการเข้าร่วมโครงการชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริซึ่งจัดทำขึ้นโดย กรุงเทพมหานคร ด้วยการเชิญชวนประชาชนชาวกรุงเทพ ฯ ร่วมทำบัญชีรายรับรายจ่ายของตนเองหรือครอบครัว ขณะนี้มีผู้สนใจเข้าร่วมแล้วกว่า 1.3 ล้านคน

จากภาวะเศรษฐกิจและการเมืองที่ผันผวน เป็นอีกหนึ่งปัจจัยหลักที่ทำให้คนไทยหันมาคำนึงถึงการใช้ชีวิตอย่างประหยัด ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนอีกเรื่อง คือ พฤติกรรมการใช้รถของคนไทย ซึ่งถ้าจะใช้รถกระบะ ก็ต้องเป็นรถที่ประหยัดน้ำมันสุด ๆ เครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรล จึงเป็นจุดขายที่ลูกค้าจะตัดสินใจจับจอง ส่วนคนเมืองที่ใช้รถเบนซินก็หันมาสนใจรถขนาดเล็กมากขึ้น เหล่านี้จึงเป็นเหตุให้ผู้ประกอบการรถยนต์ต่างเร่งผลิตรถขนาดเล็กและพัฒนา เทคโนโลยีของรถขนาดใหญ่ที่จะสามารถใช้พลังงานทดแทนได้ ตลอดจนภาครัฐเองก็มีนโยบายในเรื่องพลังงานที่ชัดเจนในการที่จะพยายามแสวงหา พลังงานทางเลือกอื่น ๆ ให้สามารถนำมาใช้กับรถได้ ไม่ว่าจะเป็นการรณรงค์ให้ใช้แก็สโซฮอลล์ หรือ ก๊าซธรรมชาติ NGV

จากรายงานภาวะเศรษฐกิจในไตรมาส 2/49 ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพบว่า การบริโภคของครัวเรือนในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา ชะลอตัวลงร้อยละ 3.7 เทียบกับร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อน ซึ้งสอดคล้องกับการลดลงของการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตจากร้อยละ 28.6 ในไตรมาส 1 มาเป็นร้อยละ 19.5 ในไตรมาส 2 นี้ อาจจะเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่บ่งบอกถึงคนไทยจับจ่ายอย่างระมัดระวังมากขึ้น

ดร. สมชาติ วิศิษฐชัยชาญ ผู้อำนวยการบริหารฝ่ายวางแผนกลยุทธ์และวิจัย บริษัท ฟาร์อีสท์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคในเชิงลึกด้วยเครื่องมือทางการตลาด DDB SignBank จะช่วยทำให้ผู้ประกอบการทั้งภาคการผลิตสินค้าและการให้บริการสามารถตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคทั้งในเหตุการณ์ปัจจุบันและอนาคตได้อย่างตรง ใจ ผู้ประกอบธุรการควรให้ความสำคัญในการพัฒนาสินค้าหรือบริการ ที่เน้นความสะดวกสบายและไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคมากขึ้น การเพิ่มความสะดวกสบายในตัวสินค้าหรือบริการนั้น จะทำให้ผู้บริโภคเกิดความสนใจที่จะทดลอง, เพิ่มปริมาณการใช้ หรือแม้กระทั่ง เพิ่มความภักดีต่อตราสินค้าและบริการ และยังทำให้ภาพลักษณ์ของสินค้าและบริการนั้นมีความทันสมัยอีกด้วย เช่นการหาช่องทางใหม่ ๆ ที่สามารถให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงง่ายขึ้น การตกแต่งร้านค้าเพื่อสอดคล้องกับเอกลักษณ์ของกลุ่มเป้าหมาย หรือ เพิ่มส่วนประกอบ/ลักษณะใหม่ที่อำนวยความสะดวกในการใช้และบริโภคสินค้า

จากกระแสการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียงและประหยัดที่มากขึ้นนั้น ทำให้พบว่า คนไทยเป็นคนฉลาดในการบริโภคมากขึ้น ใช้จ่ายอย่างมีเหตุและผล มากกว่าการฟุ่มเฟือยตามใจตนเอง โดยจะเปรียบเทียบทั้งราคาและประโยชน์ที่จะได้รับจากสินค้าของแต่ละยี่ห้อ อย่างละเอียด จึงเป็นไปได้ว่าในอนาคตความต้องการของสินค้าหรืออุปกรณ์ที่ช่วยลดค่าใช้จ่าย หรือประหยัดทรัพยากร/พลังงานอาจมีมากขึ้น ฉะนั้นผู้ประกอบธุรกิจจึงไม่ควรมองข้ามการพัฒนาสินค้าที่สามารถลดค่าใช้จ่าย ของผู้บริโภค เช่น หลอดไฟที่สามารถปรับความสว่างของแสงได้อัตโนมัติเพื่อช่วยในการประหยัดไฟ ล้อรถที่สามารถช่วยประหยัดการใช้เชื้อเพลิง หรือแม้กระทั้งสุขภัณฑ์ประหยัดน้ำ เป็นต้น


http://news.sanook.com/economic/economic_52779.php